วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

โมเดลปลาตะเพียน





            "โมเดลปลาตะเพียน" เป็นบทขยายของ "โมเดลปลาทู" ซึ่งเปรียบเสมือนเป็น "หัวปลาใหญ่" เป็นสิ่งที่ทุกหน่วยงานร่วมกันกำหนด ที่เรียกว่า วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) หรือปณิธานความมุ่งมั่นร่วม (Common Purpose) หรือเป้าหมายร่วม (Common Goal) เมื่อร่วมกันกำหนดแล้ว ก็ร่วมกันดำเนินการตามเป้าหมายนั้น เปรียบเสมือนการที่ "ปลาเล็ก" ทุกตัว "ว่ายน้ำ" ไปในทิศทางเดียวกัน โดยที่แต่ละตัวมีอิสระในการ "ว่ายน้ำ" ของตนเอง ผู้บริหารระดับสูงมีหน้าที่ "บริหารหัวปลา" และคอยดูแล "บ่อน้ำ" ให้ "ปลาเล็ก" ได้มีโอกาสใช้ความริเริ่มสร้างสรรค์ของตนในการ "ว่ายสู่เป้าหมายร่วม" ทุกหน่วยงานย่อยเองก็ต้องคอยตรวจสอบว่า "หัวปลาเล็ก" ของตนหันไปทางเดียวหกับ "หัวปลาใหญ่" ขององค์กรหรือไม่



บรรณานุกรม

กรรณิการ์ สุธรรมศิรินุกูล. 2255. บทบาทการดำเนินงาน และทักษะ คุณเอื้อ คุณอำนวย คุณกิจ  คุณลิขิต. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:  http://kmlibrary.bu.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=31:2011-02-24-03-37-24&catid=13:2010-12-22-04-02-34&Itemid=14. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2556.

ประเวศ วะสี. 2548. การจัดการความรู้ : กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์สู่ศักยภาพ เสรีภาพ และความสุข. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม.

วิจารณ์ พานิช. 2549. KM วันละคำ จากนักปฏิบัติ KM สู่นักปฏิบัติ KM. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.

วิจารณ์ พานิช. การจัดการความรู้คืออะไร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:  http://www.kmi.or.th/kmi-articles/prof-vicharn-panich/28-0001-intro-to-km.html. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2556.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Thank you for your share.